• จรวดและยานอวกาศการเดินทางที่ทรงพลัง

    จรวดและยานอวกาศการเดินทางที่ทรงพลัง

    จรวดมีหลายประเภท ลักษณะของยานพาหนะที่เรียกว่าจรวดมักจะสร้างในแบบฉบับรูปร่าง ที่สูงเพรียวยื่นยาวออกไปในแนวตั้งแต่ก็มีหลายชนิดที่สร้างขึ้นให้มีความแตกต่างกันออกไปอย่าง ยานอวกาศ อพลอลโล 11 เป็นจรวดแซทเทิร์น 5 ของโครงการอะพอลโล (Apollo) ถือเป็นจรวดอวกาศที่ใหญ่ที่สุดและประสบความสำเร็จเป็นลำแรกในการสำรวจอวกาศ ส่วนประเภทอื่นๆ เช่น ขีปนาวุธ รถจรวด เครื่องบินจรวด เลื่อนจรวด รถไฟจรวด จรวดตอร์ปิโด ยานบินส่วนบุคคล…

    Continue Reading ...
  • วิถีการโคจรของระบบสุริยะและดาวเคราะห์

    วิถีการโคจรของระบบสุริยะและดาวเคราะห์

    ระบบสุริยะตามความเข้าใจพื้นฐานทุกคนก็คือเป็นระบบหมุนเวียนของดาวเคราะห์ทั้งหมด 8 ดวงที่ค้นพบ ดวงจันทร์บริวารอีก 166 ดวงที่ค้นพบซึ่งจะหมุนรอบดวงอาทิตย์ที่เรียกกันว่าดาวฤกษ์ นอกจากนี้ในอวกาศยังมีวัตถุอื่นๆ อีกมากมายซึ่งมนุษย์ยังไม่ค้นพบ แต่เรามาว่ากันทีเรื่องการโคจรของดาวต่างๆ ในระบบสุริยะว่าเป็นอย่างไรกันบ้าง แยกประเภทการโคจรของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวพุธ – เป็นดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์ทั้งหมด ใช้เวลาหมุนรอบตัวเอง 59 วัน และใช้เวลาในการหมุนรอบดวงอาทิตย์ 88…

    Continue Reading ...
  • เคยเห็นไหม รุ้งกลับหัว กับการอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์

    เคยเห็นไหม รุ้งกลับหัว กับการอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์

    เคยเป็นกระแสอย่างหนักเมื่อครั้งก่อน เมื่อมีการเผยรูปภาพรุ้งกลับหัวออกลงสื่อ จนทำให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์มากมายจนทำให้ต้องเร่งหาข้อเท็จจริง เมื่อมีคำทำนายจากท่านโหรเผยว่าเป็นลางร้ายของบ้านเมือง รวมถึงการเตือนถึงเรื่องภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น แต่ท้ายที่สุดก็มีนักวิชาการเข้ามาชี้แจงว่าแท้จริงแล้วเป็นปรากฏการณ์ อาทิตย์ทรงกลด รูปแบบที่หาดูยาก รูปภาพรุ้งกลับหัว หรืออีกชื่อ รอยยิ้มสีรุ้ง เป็นปรากฏการณ์ที่หาชมได้ยากมาก เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยครั้งหนึ่งจนเกิดเป็นข่าวดังขึ้นมา ครั้งนี้ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ได้รับการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงแล้วว่า แท้จริงแล้วไม่ได้เกิดจากผลกระทบของแสงอาทิตย์ที่ผิวของหยดน้ำแต่อย่างไร และไม่ใช่การหักเหของสีรุ้งธรรมดาที่เคยเกิดขึ้นในทั่วไป แต่ในปรากฏการณ์นี้มีความพิเศษกว่าที่คิด เพราะเกิดจากการที่แสงอาทิตย์ไปตกกระทบต่อผนึกน้ำแข็งหกเหลี่ยมในเมฆที่สูง โดยเฉพาะเมฆซีร์โรสเตรตัส…

    Continue Reading ...